ถาม: Inheritance คืออะไร
ตอบ: Inheritance คือหลักการสำคัญหนึ่งในสามหลักการของ OOP หลักการนี้ มีไว้เพื่อให้สามารถต่อยอดงานใหม่ จากงานเดิมที่เคยทำไว้แล้ว โดยไม่ต้องเริ่มจากศูนย์
ถาม: Polymorphism คืออะไร
ตอบ: Polymorphism คือ การ inherit แล้วเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติบางอย่างของ base class โดยทำภายใน derived class จึงไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโค้ดใน base class
ถาม: Overloading คืออะไร
ตอบ: เมทธอดที่มีชื่อซ้ำกันในคลาส; ตัวแปรก็สามารถตั้งซ้ำกันได้ในโปรแกรม แต่ต้องอยู่กันคนละขอบเขต เป็นความสามารถของตัวแปรภาษา ที่จะตัวสอบ Signature ของ Function แล้วแปลออกมาได้อย่างถูกต้อง
ถาม:Overriding คืออะไร
ตอบ: การแทนที่รายละเอียดการทำงานของคลาสแม่ ด้วยราลละเอียดการทำงานของคลาสลูก
ถาม: abstract class คืออะไร
ตอบ: class ที่ไม่ระบุรายละเอียดการทำงาน
ถาม: Abstract method คืออะไร
ตอบ: method ที่มีคำว่า ‘abstract’ อยู่หน้าชื่อ และมีเพียงชื่อของ method โดยไม่มีตัวโปรแกรม และหากคลาสใด มี method ใด method หนึ่งเป็น Abstract คลาสนั้นจะต้องเป็น Abstract ด้วย (เรียกว่า Abstract class) และต้องมี คำว่า ‘abstract’ อยู่หน้าชื่อคลาส ในตอนกำหนดคลาสด้วย มิฉะนั้นจะไม่ผ่านการคอมไพล์
วันอังคารที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
เราเตอร์
1.Router คืออะไร
ตอบ: Router เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง
2.หน้าที่หลักของ Router คืออะไร
ตอบ: การหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น ทั้งนี้ยังเชื่อมโยงเครือข่ายที่ใช้สื่อสัญญาณหลายแบบ เช่น Ethernet, Token Rink หรือ FDDI
3.Router เป็นตัวชี้ทางเชื่อมต่อระหว่างอะไร
ตอบ: ระหว่างระบบอินเตอร์เน็ตไปยัง ISP
4.ลักษณะการทำงานของการส่งข้อมูลมีลักษณะอย่างไรบ้าง
ตอบ: เป็นการส่งข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น สายโทรศัพท์ ไฟเบอร์ ใยแก้วนำแสงและดาวเทียม การส่งข้อมูลมีหลายชนิดและหลายรูปแบบ แต่ในปัจจุบันนี้การส่งข้อมูลในระบบ Internetworking หรือ Internet เห็นจะเป็นระบบที่ได้รับความนิยมมากกว่าระบบอื่น
5.ปรโยชน์ของ Router คือ
ตอบ:
-เชื่อมต่อ LAN โดยใช้ Public Network (WAN)-แบ่ง Segment ในเครือข่ายใหญ่ๆ
-ใช้ทำ Remote Access เช่น Internet
-ลด Broadcast Traffic อันเนื่องจากการใช้ Bridge หรือ Switch
ตอบ: Router เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง
2.หน้าที่หลักของ Router คืออะไร
ตอบ: การหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น ทั้งนี้ยังเชื่อมโยงเครือข่ายที่ใช้สื่อสัญญาณหลายแบบ เช่น Ethernet, Token Rink หรือ FDDI
3.Router เป็นตัวชี้ทางเชื่อมต่อระหว่างอะไร
ตอบ: ระหว่างระบบอินเตอร์เน็ตไปยัง ISP
4.ลักษณะการทำงานของการส่งข้อมูลมีลักษณะอย่างไรบ้าง
ตอบ: เป็นการส่งข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น สายโทรศัพท์ ไฟเบอร์ ใยแก้วนำแสงและดาวเทียม การส่งข้อมูลมีหลายชนิดและหลายรูปแบบ แต่ในปัจจุบันนี้การส่งข้อมูลในระบบ Internetworking หรือ Internet เห็นจะเป็นระบบที่ได้รับความนิยมมากกว่าระบบอื่น
5.ปรโยชน์ของ Router คือ
ตอบ:
-เชื่อมต่อ LAN โดยใช้ Public Network (WAN)-แบ่ง Segment ในเครือข่ายใหญ่ๆ
-ใช้ทำ Remote Access เช่น Internet
-ลด Broadcast Traffic อันเนื่องจากการใช้ Bridge หรือ Switch
วันเสาร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
โปรโตคอล
โปรโตคอล คืออะไร?
โปรโตคอล หรือ Protocol คือ ข้อตกลงอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับวิธีที่คอมพิวเตอร์จะจัด รูปแบบและตอบรับข้อมูลระหว่างการสื่อสาร ซึ่งโปรโตคอลจะมีหลายมาตรฐานที่จะให้ผู้เขียนโปรแกรมเลือกใช้ และแต่ละโปรโตคอลก็จะมีข้อดีข้อเสียต่างกันไป
ความสำคัญของโปรโตคอล
ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านทางเครือข่ายนั้น จำเป็นต้องมีโปรโตคอลที่เป็นข้อกำหนดตกลงในการสื่อสารขึ้น เพื่อช่วยให้ระบบสองระบบที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้ โปรโตคอลนี้เป็นข้อตกลงที่กำหนดเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโปรโตคอลมีความสำคัญมากในการสื่อสารบนเครือข่าย หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
ในปัจจุบันการทำงานของเครือข่ายใช้มาตรฐานโปรโตคอลต่างๆร่วมกันทำงานมากมาย นอกจากโปรโตคอลระดับประยุกต์แล้ว การดำเนินการภายในเครือข่ายยังมีโปรโตคอลย่อยที่ช่วย ทำให้การทำงานของเครือข่ายมีประสิทธิภาพขึ้น โดยที่ผู้ใช้ไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรง อีกมาก
การทำงานของโปรโตคอล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทำงานร่วมกันเป็นจำนวนมาก ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นมีหลายมาตรฐานหลายยี่ห้อ แต่ก็สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างดี การที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพราะมีการใช้โปรโตคอลมาตรฐานที่มีข้อกำหนดให้ทำงานร่วมกันได้
ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตที่ทำหน้าที่เป็นผู้ใช้บริการหรือเป็นไคลแอนต์ (Client) สามารถเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่านไปยังเครื่องให้บริการหรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) บนเครือข่าย การทำงาน
ของพีซีที่เชื่อมต่อร่วมกับเซิร์ฟเวอร์ก็จำเป็นต้องใช้โปรโตคอลเพื่อประยุกต์ใช้งานรับส่งข้อมูล ซึ่งโปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสารนี้ก็มีมากมายหลายประเภทด้วยกัน
ตัวอย่างของโปรโตคอล
1. โปรโตคอล HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser) เช่น Netscape หรือ Internet Explorer เรียกดูข้อมูลหรือเว็บเพจ โปรแกรมบราวเซอร์ดังกล่าวจะใช้โปรโตคอล HTTP ซึ่งโปรโตคอลนี้ทำให้เซิร์ฟเวอร์ส่งข้อมูลมาให้บราวเซอร์ตามต้องการ และบราวเซอร์จะนำข้อมูลมาแสดงผลบนจอภาพได้อย่างถูกต้อง มาตรฐานและรูปแบบการรับส่งข้อมูลจึงต้องได้รับการกำหนดและเป็นที่ยอมรับระหว่างกัน
2. โปรโตคอล TCP หรือ Transfer Control Protocol กล่าวคือ การติดต่อระหว่างบราวเซอร์กับเซิร์ฟเวอร์ย่อมต้องเปิดช่องสื่อสารระหว่างกัน ช่องสื่อสารทั้งสองข้างมีช่องหมายเลขกำกับ ซึ่งเราเรียกว่า "พอร์ต (Port)" และพอร์ตนี้ได้รับการกำกับดูแลด้วยโปรโตคอลหนึ่งที่มี ชื่อว่า TCP (Transfer Control Protocol) ซึ่งทำให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์บริการไคลแอนต์ได้หลายๆ ไคลแอนต์พร้อมกันในเวลาเดียวกัน เมื่อผู้ใช้ทางด้านผู้ใช้บริการหรือไคลแอนต์ใช้โปรแกรมแบบทำงานหลายอย่างในขณะเดียวกัน (Multitasking) เช่น บน Windows 98 ก็สามารถเปิดหลายๆงาน บนเครื่องเดียวกัน เป็นต้น เพราะผ่านพอร์ตต่างกันคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ในระดับ OS จึงมีการกำหนดหมายเลขพอร์ตเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างกันได้ การเชื่อมระหว่างกันจึงทำได้ในลักษณะเครือข่ายที่เชื่อมโยงผ่านถนนสายเดียวกัน
3. โปรโตคอล IP หรือ Internet Protocol กล่าวคือ การที่คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ส่งข้อมูลไปยังอีกเครื่องหนี่งได้ถูกต้องเพราะมีโปรโตคอลที่ใช้ในการหาตำแหน่งซึ่งในกรณีนี้ใช้โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตโปรโตคอล หรือที่เรียกว่า IP (Internet Protocol) ส่วน IP นี้มีการกำหนดแอดเดรสของคอมพิวเตอร์ที่เราเรียกว่า เลขที่อยู่ไอพี (IP Address) อีกต่อหนึ่ง
4. โปรโตคอล SMIP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่าย ผู้เขียนจดหมายใช้โปรแกรมเอดิเตอร์ (Editor) เขียนจดหมายเมื่อเขียนเสร็จแล้วมีการจ่าหน้าถึงแอดเดรสปลายทาง ข้อความหรือจดหมายฉบับนั้นจะรับส่งกันด้วยโปรแกรมรับส่งเมล์ที่ใช้โปรโตคอลมาตรฐาน SMIP ลักษณะการรับส่งในระดับ SMTP มีการกำหนดให้เครื่องใดเครื่องหนึ่งเชื่อมกับเครื่องอื่น ในฐานะที่เป็นตัวแลกเปลี่ยนจดหมายหรือที่ เรียกว่า Mail Exchange ตัวแลกเปลี่ยนจดหมายจะตรวจสอบแอดเดรสของจดหมาย และนำส่ง ต่อกันจนถึงปลายทาง เช่นเดียวกับการประยุกต์อื่น การรับส่งจดหมายระหว่างเครื่องจะเปลี่ยน
โปรโตคอล หรือ Protocol คือ ข้อตกลงอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับวิธีที่คอมพิวเตอร์จะจัด รูปแบบและตอบรับข้อมูลระหว่างการสื่อสาร ซึ่งโปรโตคอลจะมีหลายมาตรฐานที่จะให้ผู้เขียนโปรแกรมเลือกใช้ และแต่ละโปรโตคอลก็จะมีข้อดีข้อเสียต่างกันไป
ความสำคัญของโปรโตคอล
ในการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านทางเครือข่ายนั้น จำเป็นต้องมีโปรโตคอลที่เป็นข้อกำหนดตกลงในการสื่อสารขึ้น เพื่อช่วยให้ระบบสองระบบที่แตกต่างกันสามารถสื่อสารกันอย่างเข้าใจได้ โปรโตคอลนี้เป็นข้อตกลงที่กำหนดเกี่ยวกับการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ทั้งวิธีการส่งและรับข้อมูล วิธีการตรวจสอบข้อผิดพลาดของการส่งและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลเมื่อส่งและรับกันระหว่างเครื่องสองเครื่อง ดังนั้นจะเห็นได้ว่าโปรโตคอลมีความสำคัญมากในการสื่อสารบนเครือข่าย หากไม่มีโปรโตคอลแล้ว การสื่อสารบนเครือข่ายจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้
ในปัจจุบันการทำงานของเครือข่ายใช้มาตรฐานโปรโตคอลต่างๆร่วมกันทำงานมากมาย นอกจากโปรโตคอลระดับประยุกต์แล้ว การดำเนินการภายในเครือข่ายยังมีโปรโตคอลย่อยที่ช่วย ทำให้การทำงานของเครือข่ายมีประสิทธิภาพขึ้น โดยที่ผู้ใช้ไม่สามารถสังเกตเห็นได้โดยตรง อีกมาก
การทำงานของโปรโตคอล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทำงานร่วมกันเป็นจำนวนมาก ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นมีหลายมาตรฐานหลายยี่ห้อ แต่ก็สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างดี การที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพราะมีการใช้โปรโตคอลมาตรฐานที่มีข้อกำหนดให้ทำงานร่วมกันได้
ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตที่ทำหน้าที่เป็นผู้ใช้บริการหรือเป็นไคลแอนต์ (Client) สามารถเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่านไปยังเครื่องให้บริการหรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) บนเครือข่าย การทำงาน
ของพีซีที่เชื่อมต่อร่วมกับเซิร์ฟเวอร์ก็จำเป็นต้องใช้โปรโตคอลเพื่อประยุกต์ใช้งานรับส่งข้อมูล ซึ่งโปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสารนี้ก็มีมากมายหลายประเภทด้วยกัน
ตัวอย่างของโปรโตคอล
1. โปรโตคอล HTTP หรือ Hypertext Transfer Protocol จะใช้เมื่อเรียกโปรแกรมบราวเซอร์ (Browser) เช่น Netscape หรือ Internet Explorer เรียกดูข้อมูลหรือเว็บเพจ โปรแกรมบราวเซอร์ดังกล่าวจะใช้โปรโตคอล HTTP ซึ่งโปรโตคอลนี้ทำให้เซิร์ฟเวอร์ส่งข้อมูลมาให้บราวเซอร์ตามต้องการ และบราวเซอร์จะนำข้อมูลมาแสดงผลบนจอภาพได้อย่างถูกต้อง มาตรฐานและรูปแบบการรับส่งข้อมูลจึงต้องได้รับการกำหนดและเป็นที่ยอมรับระหว่างกัน
2. โปรโตคอล TCP หรือ Transfer Control Protocol กล่าวคือ การติดต่อระหว่างบราวเซอร์กับเซิร์ฟเวอร์ย่อมต้องเปิดช่องสื่อสารระหว่างกัน ช่องสื่อสารทั้งสองข้างมีช่องหมายเลขกำกับ ซึ่งเราเรียกว่า "พอร์ต (Port)" และพอร์ตนี้ได้รับการกำกับดูแลด้วยโปรโตคอลหนึ่งที่มี ชื่อว่า TCP (Transfer Control Protocol) ซึ่งทำให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์บริการไคลแอนต์ได้หลายๆ ไคลแอนต์พร้อมกันในเวลาเดียวกัน เมื่อผู้ใช้ทางด้านผู้ใช้บริการหรือไคลแอนต์ใช้โปรแกรมแบบทำงานหลายอย่างในขณะเดียวกัน (Multitasking) เช่น บน Windows 98 ก็สามารถเปิดหลายๆงาน บนเครื่องเดียวกัน เป็นต้น เพราะผ่านพอร์ตต่างกันคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ในระดับ OS จึงมีการกำหนดหมายเลขพอร์ตเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างกันได้ การเชื่อมระหว่างกันจึงทำได้ในลักษณะเครือข่ายที่เชื่อมโยงผ่านถนนสายเดียวกัน
3. โปรโตคอล IP หรือ Internet Protocol กล่าวคือ การที่คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ส่งข้อมูลไปยังอีกเครื่องหนี่งได้ถูกต้องเพราะมีโปรโตคอลที่ใช้ในการหาตำแหน่งซึ่งในกรณีนี้ใช้โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตโปรโตคอล หรือที่เรียกว่า IP (Internet Protocol) ส่วน IP นี้มีการกำหนดแอดเดรสของคอมพิวเตอร์ที่เราเรียกว่า เลขที่อยู่ไอพี (IP Address) อีกต่อหนึ่ง
4. โปรโตคอล SMIP หรือ Simple Mail Transfer Protocol คือ การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์บนเครือข่าย ผู้เขียนจดหมายใช้โปรแกรมเอดิเตอร์ (Editor) เขียนจดหมายเมื่อเขียนเสร็จแล้วมีการจ่าหน้าถึงแอดเดรสปลายทาง ข้อความหรือจดหมายฉบับนั้นจะรับส่งกันด้วยโปรแกรมรับส่งเมล์ที่ใช้โปรโตคอลมาตรฐาน SMIP ลักษณะการรับส่งในระดับ SMTP มีการกำหนดให้เครื่องใดเครื่องหนึ่งเชื่อมกับเครื่องอื่น ในฐานะที่เป็นตัวแลกเปลี่ยนจดหมายหรือที่ เรียกว่า Mail Exchange ตัวแลกเปลี่ยนจดหมายจะตรวจสอบแอดเดรสของจดหมาย และนำส่ง ต่อกันจนถึงปลายทาง เช่นเดียวกับการประยุกต์อื่น การรับส่งจดหมายระหว่างเครื่องจะเปลี่ยน
ระบบเครือข่ายATM
1.vpiและvciทำหน้าที่
ก.กำหนดวงจรเสมือน
ข.ทำหน้าที่ตรวจสอบเซลล์
ค.ทำหน้าที่ในการมัลติเพลกร์
ง.ถูกทุข้อ
2.เทคโนโลยี TBM ที่นิยมใช้กันอีกอย่างในตอนนี้คือ
ก.Leased Line
ข.Continous
ค.Packet
ง.Frame Relay
3.รูปแบบการส่งข้อมูล ATM เป็นแบบ
ก.Qos
ข.Connection-oriented
ค.Shared-bus
ง.Network
4.เครือข่าย ATM เป็นระบบแบบ
ก.connection
ข.สวิตซ์
ค.shared-bus
ง.packet
5.องค์การที่จัดการดูแลในระบบ ATM คือ
ก.SMS
ข.AT&T
ค.ATM
ง.T&T
6.วิธีการที่ใช้กันแพร่หลายในการใช้งาน IP บนเครือข่าย ATM มีอยู่กี่วิธี
ก.2 วิธี ข.3วิธี
ค.4วิธี ง.5วิธี
7.LAN Emulation Client(LEC)มีหน้าที่
ก.มีหน้าที่ในกรเก็บตารางดัชนี
ข.มีหน้าที่ในการแปลงข้อมูลระหว่าง LAN และATM
ค.มีหน้าที่ในการรับและกระจายข้อมูล
ง.มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูล
ก.กำหนดวงจรเสมือน
ข.ทำหน้าที่ตรวจสอบเซลล์
ค.ทำหน้าที่ในการมัลติเพลกร์
ง.ถูกทุข้อ
2.เทคโนโลยี TBM ที่นิยมใช้กันอีกอย่างในตอนนี้คือ
ก.Leased Line
ข.Continous
ค.Packet
ง.Frame Relay
3.รูปแบบการส่งข้อมูล ATM เป็นแบบ
ก.Qos
ข.Connection-oriented
ค.Shared-bus
ง.Network
4.เครือข่าย ATM เป็นระบบแบบ
ก.connection
ข.สวิตซ์
ค.shared-bus
ง.packet
5.องค์การที่จัดการดูแลในระบบ ATM คือ
ก.SMS
ข.AT&T
ค.ATM
ง.T&T
6.วิธีการที่ใช้กันแพร่หลายในการใช้งาน IP บนเครือข่าย ATM มีอยู่กี่วิธี
ก.2 วิธี ข.3วิธี
ค.4วิธี ง.5วิธี
7.LAN Emulation Client(LEC)มีหน้าที่
ก.มีหน้าที่ในกรเก็บตารางดัชนี
ข.มีหน้าที่ในการแปลงข้อมูลระหว่าง LAN และATM
ค.มีหน้าที่ในการรับและกระจายข้อมูล
ง.มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูล
วันศุกร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
vb.net
1.Visual Basic.NET เป็นภาษาที่พัฒนาต่อจาก
ก.Visual Basic 6.0
ข.Visual C#
ค.vb.net
ง.visual
2.คำสั่งใดที่ใช้ในการทำงานซ้ำเป็นจำนวนครั้งที่แน่นอน
ก.For…next
ข.if
ค.Select
ง.Loop
3.โปรแกรมย่อยคือ
ก.เป็นโปรแกรมย่อยที่ไม่มีการส่งค่ากลับมา
ข.คือการแยกโปรแกรมออกเป็นย่อยๆ
ค.เป็นโปรแกรมย่อยที่มีการส่งค่ากลับมา
ง.การแสดงหรือแก้ไขคำสั่งที่มีอยู่ในโปรแกรมย่อย
4.โปรแกรมย่อย Functionคือ
ก.เป็นโปรแกรมย่อยที่มีการส่งค่ากลับมา
ข.การสร้างโปรแกรมย่อย
ค.เป็นโปรแกรมย่อยที่ไม่มีการส่งค่ากลับมา
ง.การแยกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ
5.ฟอร์มคือ
ก.เป็นหน้าต่างที่ใช้ในการออกแบบหน้าจอโปรแกรม
ข.หน้าต่างที่แสดงโปรเจกต์ต่างๆ
ค.หน้าต่างที่แสดงคุณสมบัติของคอลโทรล
ง.เก็บคำสั่ง
ก.Visual Basic 6.0
ข.Visual C#
ค.vb.net
ง.visual
2.คำสั่งใดที่ใช้ในการทำงานซ้ำเป็นจำนวนครั้งที่แน่นอน
ก.For…next
ข.if
ค.Select
ง.Loop
3.โปรแกรมย่อยคือ
ก.เป็นโปรแกรมย่อยที่ไม่มีการส่งค่ากลับมา
ข.คือการแยกโปรแกรมออกเป็นย่อยๆ
ค.เป็นโปรแกรมย่อยที่มีการส่งค่ากลับมา
ง.การแสดงหรือแก้ไขคำสั่งที่มีอยู่ในโปรแกรมย่อย
4.โปรแกรมย่อย Functionคือ
ก.เป็นโปรแกรมย่อยที่มีการส่งค่ากลับมา
ข.การสร้างโปรแกรมย่อย
ค.เป็นโปรแกรมย่อยที่ไม่มีการส่งค่ากลับมา
ง.การแยกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อยๆ
5.ฟอร์มคือ
ก.เป็นหน้าต่างที่ใช้ในการออกแบบหน้าจอโปรแกรม
ข.หน้าต่างที่แสดงโปรเจกต์ต่างๆ
ค.หน้าต่างที่แสดงคุณสมบัติของคอลโทรล
ง.เก็บคำสั่ง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)